ชื่อหลักสูตร มคอ 2
ภาษาไทย: หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
(หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ: Master of Science Program in Management of Information Technology
Innovation (International Program)
ชื่อปริญญา
ภาษาไทย: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ)
ภาษาอังกฤษ: Master of Science (Management of Information Technology Innovation)
วิสัยทัศน์ พันธกิจของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ยึดมั่นการเป็นองค์กรธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล
มหาวิทยาลัยมีภารกิจหลัก 4 ประการ
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนระดับสูง ให้มีมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม ภาคใต้และของประเทศ
2. ดำเนินการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ให้สามารถนำไปใช้ในการผลิตให้มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพ เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและการแข่งขันในระดับนานาชาติ
3. ให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในด้านการให้คำปรึกษา และแนะนำ
การวิจัยและพัฒนา การทดสอบ การสำรวจ รวมทั้งการฝึกอบรมและพัฒนาอันก่อให้เกิดการถ่ายทอด
เทคโนโลยีที่จำเป็น และเหมาะสม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคและประเทศชาติ
4. อนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรม อันเป็นจารีตประเพณี รวมทั้งศิลปะบริสุทธิ์และศิลปะ-ประยุกต์
เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์รวมของชุมชนและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคมเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์รวม
ของชุมชนและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
วิสัยทัศน์ของสำนักวิชา
ผู้นำในการสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านดิจิทัลแห่งอาเซียน (Leader in Digital Innovation of ASEAN )
โดยมีพันธกิจ ดังนี้
1. ผลิตบัณฑิต ที่มีความรู้และศักยภาพรองรับอุตสาหกรรมดิจิทัลระดับสากล
2. สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมด้านดิจิทัลเพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
3. บริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. อนุรักษ์และยกระดับการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยสู่สากลผ่านนวัตกรรมด้านดิจิทัล ปรัชญา ความสำคัญผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้และเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ
นวัตกรรมดิจิทัล ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับ
การนำไปบริหารจัดการ พัฒนางาน พัฒนานวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและนานาชาติ
รวมถึงเพื่อการพัฒนานวัตกรรมใหม่ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม
เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความรู้ ความเข้าใจและนำเทคโนโลยี
สารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในงานที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม
3. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีศักยภาพในการคิด วิเคราะห์ เพื่อนำ
ไปสู่การแก้ปัญหาโจทย์วิจัย
4. เพื่อพัฒนามหาบัณฑิตที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีทักษะในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
5. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับ
นานาชาติ
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ต้องให้เกียรติและอ้างถึงแหล่งที่มาของข้อมูล 2 อธิบายเนื้อหาสาระสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 3 ใช้ระเบียบวิธีวิจัยได้อย่างถูกต้อง 4 ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้ 5 แก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้
6 เรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
7 เผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติได้
8 ใช้เครื่องมือสนับสนุนการทำวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางประกอบอาชีพ
1. อาจารย์ในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
2. นักวิจัย/นักวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรภาครัฐและเอกชน
3. ผู้บริหารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
4. นักวางแผนกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
5. ผู้ประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการศึกษาต่อศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางด้านการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
ค่าธรรมเนียม
นักศึกษาไทยค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร 420,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการศึกษาต่อภาคการศึกษา 105,000 บาท
นักศึกษาต่างชาติค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร 570,000 บาทค่าธรรมเนียมการศึกษาต่อภาคการศึกษา 142,500.- บาท
โครงสร้างหลักสูตร แผนการศึกษา
มคอ 2
ชื่อหลักสูตร มคอ 2
ภาษาไทย: หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ
(หลักสูตรนานาชาติ)
ภาษาอังกฤษ: Master of Science Program in Management of Information Technology
Innovation (International Program)
ชื่อปริญญา
ภาษาไทย: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ)
ภาษาอังกฤษ: Master of Science (Management of Information Technology Innovation)
วิสัยทัศน์ พันธกิจของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ยึดมั่นการเป็นองค์กรธรรมรัฐ เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็นหลักในถิ่น เป็นเลิศสู่สากล
มหาวิทยาลัยมีภารกิจหลัก 4 ประการ
1. ผลิตและพัฒนากำลังคนระดับสูง ให้มีมาตรฐานที่สอดคล้องกับความต้องการในการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคม ภาคใต้และของประเทศ
2. ดำเนินการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ให้สามารถนำไปใช้ในการผลิตให้มีคุณภาพและ
ประสิทธิภาพ เพื่อความสามารถในการพึ่งตนเองและการแข่งขันในระดับนานาชาติ
3. ให้บริการทางวิชาการแก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนในด้านการให้คำปรึกษา และแนะนำ
การวิจัยและพัฒนา การทดสอบ การสำรวจ รวมทั้งการฝึกอบรมและพัฒนาอันก่อให้เกิดการถ่ายทอด
เทคโนโลยีที่จำเป็น และเหมาะสม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภูมิภาคและประเทศชาติ
4. อนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะและวัฒนธรรม อันเป็นจารีตประเพณี รวมทั้งศิลปะบริสุทธิ์และศิลปะ-ประยุกต์
เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์รวมของชุมชนและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคมเพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็นศูนย์รวม
ของชุมชนและเป็นแบบอย่างที่ดีของสังคม
วิสัยทัศน์ของสำนักวิชา
โดยมีพันธกิจ ดังนี้
1. ผลิตบัณฑิต ที่มีความรู้และศักยภาพรองรับอุตสาหกรรมดิจิทัลระดับสากล
2. สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมด้านดิจิทัลเพื่อมุ่งสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์
3. บริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคมภายใต้แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
4. อนุรักษ์และยกระดับการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมไทยสู่สากลผ่านนวัตกรรมด้านดิจิทัล
ผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรู้และเชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศและ
นวัตกรรมดิจิทัล ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ สามารถใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย เหมาะสมกับ
การนำไปบริหารจัดการ พัฒนางาน พัฒนานวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศชาติและนานาชาติ
รวมถึงเพื่อการพัฒนานวัตกรรมใหม่ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สังคม
เศรษฐกิจและวัฒนธรรมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีความรู้ ความเข้าใจและนำเทคโนโลยี
สารสนเทศไปประยุกต์ใช้ในงานที่รับผิดชอบได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม จริยธรรม
3. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีศักยภาพในการคิด วิเคราะห์ เพื่อนำ
ไปสู่การแก้ปัญหาโจทย์วิจัย
4. เพื่อพัฒนามหาบัณฑิตที่สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและมีทักษะในการสื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
5. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถเผยแพร่ผลงานทางวิชาการและงานวิจัย ในระดับ
นานาชาติ
6 เรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่องและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
7 เผยแพร่ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติได้
8 ใช้เครื่องมือสนับสนุนการทำวิจัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางประกอบอาชีพ
1. อาจารย์ในสถาบันการศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
2. นักวิจัย/นักวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรภาครัฐและเอกชน
3. ผู้บริหารด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
4. นักวางแผนกลยุทธ์ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน
5. ผู้ประกอบการในธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกทางด้านการจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศหรือสาขาที่เกี่ยวข้อง
ค่าธรรมเนียม
ค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดหลักสูตร 420,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการศึกษาต่อภาคการศึกษา 105,000 บาท
ค่าธรรมเนียมการศึกษาต่อภาคการศึกษา 142,500.- บาท
โครงสร้างหลักสูตร แผนการศึกษา
แผน ก แบบ ก 1
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 กลุ่มวิชาแกน 1.2 กลุ่มวิชาเอก
1.3 กลุ่มวิชาสัมมนา
2) หมวดวิชาเลือก
3) หมวดวิทยานิพนธ์
– หน่วยกิต
3* หน่วยกิต
– หน่วยกิต
36 หน่วยกิต
แผน ก แบบ ก 2
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 กลุ่มวิชาแกน 1.2 กลุ่มวิชาเอก
1.3 กลุ่มวิชาสัมมนา
2) หมวดวิชาเลือก
3) หมวดวิทยานิพนธ์
24 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
3* หน่วยกิต
– หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
แผน ข
จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 36 หน่วยกิต
1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 กลุ่มวิชาแกน 1.2 กลุ่มวิชาเอก
1.3 กลุ่มวิชาสัมมนา
2) หมวดวิชาเลือก
3) หมวดวิทยานิพนธ์
24 หน่วยกิต
9 หน่วยกิต
12 หน่วยกิต
3 หน่วยกิต
6 หน่วยกิต
6 หน่วยกิต
ช่องทางการติดต่อ
หลักสูตรการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
โทร: 075-672204